Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Fluvitrygon kittipongi
Fluvitrygon kittipongi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Himantura kittipongi Vidthayanon & Roberts, 2005
ชื่อสามัญ::
-
Mekong whipray
-
Dark-rimmed stingray
-
Roughback whipray
-
Maeklong whipray, roughback whipray, Kittipong's w
-
Roughback Whipray, Scaly whipray
ชื่อไทย:
-
กระเบนแม่กลอง
-
กระเบนทราย
-
กระเบนแม่กลอง, กระเบนทราย, กระเบนเหลือง, กระเบนกิตติพงศ์
-
ปากระเบนลแม่กลอง, ปลากระเบนทราย, ปลากระเบนเหลือง, ปลากระเบนกิตติพงศ์
-
ปลากระเบนทราย
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
ดร.ชวลิต วิทยานนท์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปลากระเบนทราย มีผิวลำตัวขรุขระ ส่วนท้ายลำตัวมักมีลายแถบสีน้ำตาลหรือสีเหลือง ขนาดใหญ่สุดที่พบ 26.8 เซนติเมตร
-
เป็นปลากระเบนที่มีขนาดใหญ่สุดมีความยาวประมาณ 60 ซม. สามารถเลี้ยงในตู้ปลาขนาดใหญ่โล่ง ๆ ปูพื้นด้วยกรวดขนาดเล็ก หรือบ่อซีเมนต์ อุปนิสัยชอบว่ายไปมาตามพื้นกรวด และฝังตัวอยู่ตามพื้นกรวด สามารถปรับตัวอยู่ในตู้ได้ดีจนสามารถผสมพันธุ์ออกลูกในตู้ปลาได้ โดยกิน ปู ปลา กุ้ง หอยและสัตว์น้ำซึ่งอยู่ตามหน้าดินเป็นอาหาร โดยปลากระเบนกิติพงษ์จะแทรกตัวอยู่ใต้ผิวดินท้องน้ำโผล่ขึ้นมาเพียงช่องหายใจกับลูกตา แล้วใช้จะงอยตรงปากจับเหยื่อและกดทับไว้ก่อนกินเป็นอาหาร มีลักษณะที่แตกต่างจากปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ก็คือ ด้านหลังจะมีสีน้ำตาลเข้มอมเหลือง รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ จำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14-15 แถว
การกระจายพันธุ์ :
-
จังหวัดราชบุรีถึงกาญจนบุรี
ถิ่นอาศัย :
-
ลุ่มน้ำแม่กลอง จังหวัดกาญจนบุรี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้ ส่วนปลาที่มีชีวิตสามารถนำมาเลี้ยงและเพาะพันธุ์ในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
Freshwater FISHES IN THAILAND
กรมประมง
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lyngbya majuscula
Graphis compulsa
Mytlina acanthophora
กระชายดำ
Kaempferia paroiflora
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
Dinopium
Anthracothecium bengalense
Previous
Next